เมนู

2. อารัมมณปัจจัย


[8] 1. เหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุสเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
2. เหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
3. เหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุสเหตุกธรรม
และนเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
4. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
5. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุสเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
6. นเหตุสเหตุสกธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุสเหตุกธรรม
และนเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
7. เหตุสเหตุกธรรม และนเหตุสเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
8. เหตุสเหตุกธรรม และนเหตุสเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
9. เหตุสเหตุกธรรม และนเหตุสเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เหตุสเหตุกธรรม และนเหตุสเหตุธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[9] ในเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ ใน
อุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี 9 วาระ.
ปัญหาวาระในกุสลติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.

อเหตุกบทปฏิจจวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[10] 1. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
2. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
3. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยเหตุอเหตุกธรรม และ
นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[11] ในเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
ในอวิคตปัจจัย มี 3 วาระ.
สหชาตวาระก็ดี ฯลฯ สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.